ชุดที่ 3

เอกสารสำคัญว่าด้วยสภากาชาดไทย

3.1 พระราชสาส์นถึงประธานาธิบดีสวิตเซอร์แลนด์

เรื่องสงครามฝรั่งเศสสยาม ร.. 112

และการจัดตั้งสภาอุณาโลมแดงแห่งชาติสยาม

พุทธศักราช 2436

ที่มา

“SIAM-PRODROMES DE LA CROIX-ROUGE”,

Bulletin International DES Sociétés de la Croix-Rouge; Vol 24, Issue 96,

October 1893, pp. 199 – 201

 

รศ. นพ.ถนอม บรรณประเสริฐ ได้รับข้อมูลส่งต่อมาจากคุณ Charlotte Mohr

ตำแหน่ง Associate in the Library and Public Archives Unit

ของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) สำนักงานใหญ่ ณ นครเจนีวา

หลังจากที่ไปพบปะเพื่อประสานงานขอเอกสารที่เกี่ยวข้องกับพระราชสาส์นของรัชกาลที่ 5

เกี่ยวกับการเข้าร่วมในอนุสัญญาเจนีวาฉบับต่าง ๆ

990 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

991 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

3.2 พระราชสาส์นถึงประธานาธิบดีสวิตเซอร์แลนด์

เรื่องการเข้าร่วมอนุสัญญาเจนีวาและส่งผู้แทนลงนาม

ให้สัตยาบัน ณ กรุงเบิร์น

พุทธศักราช 2438

และพระราชสาส์นถึงกรุงสวิตเซอร์แลนด์

.. 114 (.. 2438)

ที่มา

“SIAM-ACCESSION A LA CONVENTION DE GENEVE”,

Bulletin International DES Sociétés de la Croix-Rouge; Vol 27, Issue 103,

July 1895, p. 151 - 152

 

รศ. นพ.ถนอม บรรณประเสริฐ ได้รับข้อมูลส่งต่อมาจากคุณ Charlotte Mohr

ตำแหน่ง Associate in the Library and Public Archives Unit

ของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) สำนักงานใหญ่ ณ นครเจนีวา

หลังจากที่ไปพบปะเพื่อประสานงานขอเอกสารที่เกี่ยวข้องกับพระราชสาส์นของรัชกาลที่ 5

เกี่ยวกับการเข้าร่วมในอนุสัญญาเจนีวาฉบับต่าง ๆ

เอกสารฉบับภาษาอังกฤษนี้เป็นเอกสารราชการสำคัญที่เพิ่งค้นพบใหม่

แสดงการเข้าร่วมให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาเจนีวา เมื่อ พ.. 2438

ส่วนเอกสารฉบับภาษาไทยได้มาจากสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5

กระทรวงการต่างประเทศ มร 5 ต/48

993 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

994 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

995 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

996 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

997 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

998 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

 

3.3 การให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาเจนีวา ร.ศ. 125

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธย

วันที่ 2 พฤศจิกายน พ.. 2449

ที่มา

ได้รับความอนุเคราะห์จากคุณเบอาท ชไวเซอร์ ผู้อำนวยการสำนักงานภูมิภาคกรุงเทพฯ

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (กาชาดสากล)

ดำเนินการขอสำเนาเอกสารต้นฉบับจากรัฐบาลสวิส และทูลเกล้าฯ ถวาย

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

องค์อุปนายิกาสภากาชาดไทย เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.. 2561

1000 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1001 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1002 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1003 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1004 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1005 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1006 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1007 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1008 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1009 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1010 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1011 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1012 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1013 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1014 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1015 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1016 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1017 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1018 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1019 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1020 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

1022 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

คุณเบอาท ชไวเซอร์ ผู้อำนวยการสำนักงานภูมิภาคกรุงเทพฯ

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (กาชาดสากล) ทูลเกล้าฯ ถวายสำเนาอนุสัญญาเจนีวา ร.. 125

แด่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี องค์อุปนายิกาสภากาชาดไทย

เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.. 2561

 

เชิงอรรถ

1 คุณโกศล ตี่นาสวน ให้ความเห็นว่า คำว่า กรังกกรี นี้ น่าจะมาจากภาษาฝรั่งเศส จึงสอบถามไปยังคุณศักดิ์ชัย พนาวรรต ผู้เชี่ยวชาญภาษาฝรั่งเศส ให้คำอธิบายว่า น่าจะมาจากคำว่า Conquèri อ่านว่า กง-เก-รี แปลว่า พ่ายแพ้

2 Executive ฝ่ายบริหาร

3 Legislative ฝ่ายนิติบัญญัติ

4 Regency คณะผู้สำเร็จราชการ

5 เข้า - ข้าว

6 มีการปฏิรูปการศาลโดยการตั้งกระทรวงยุติธรรม ร.. 110 (.. 2434) โดยเสนาบดีสภาแบ่งศาลหัวเมืองเป็น 3 ลำดับ ได้แก่ ศาลใหญ่ตามมณฑล ศาลประจำเมือง และศาลอำเภอกำนัล จนเมื่อมีการประกาศใช้พระธรรมนูญศาลหัวเมือง ร.. 114 (.. 2438) กำหนดให้มีศาลประจำสำหรับพิจารณาคดีตามหัวเมืองเป็น 3 ชั้น ดังนี้ ศาลมณฑล มีผู้พิพากษาประจำตำแหน่งคณะหนึ่ง ประกอบด้วยอธิบดีผู้พิพากษาศาลมณฑล และผู้พิพากษาอื่นอีกรวมทั้งสิ้นไม่ต่ำกว่า 3 นาย จึงจะเป็นองค์คณะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวงตลอดเขตมณฑลเทศาภิบาลซึ่งตั้งศาลนั้น 2 ศาลเมืองและศาลแขวง